Filtrer par genre
- 53 - พลังใจ ทำอะไรได้บ้าง?
"ใจคนเราส่งไปดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ได้ แค่กระพริบตาทีเดียว
จะไปกลับดวงอาทิตย์มายังโลกนี้ วันละล้านครั้ง ก็ไม่ได้เกินกำลังของเรา ใจทรงพลังขนาดนี้..."
๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
ขอขอบคุณ คติธรรมดีๆ จาก
https://www.facebook.com/Dattajeewo
https://www.youtube.com/channel/UCbKZ29IfR4o6_KRSlA3rKwg
Sat, 30 Oct 2021 - 02min - 52 - มงคลที่ 38 จิตเกษม โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 27 Aug 2021 - 2h 04min
- 51 - มงคลที่ 37 จิตปราศจากธุลี โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายWed, 25 Aug 2021 - 2h 06min
- 50 - มงคลที่ 36 จิตไม่โศก โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 23 Aug 2021 - 2h 04min
- 49 - มงคลที่ 35 จิตไม่หวั่นไหว โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSat, 21 Aug 2021 - 2h 05min
- 48 - มงคลที่ 34 ทำนิพพานให้แจ้ง โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายThu, 19 Aug 2021 - 2h 03min
- 47 - มงคลที่ 33 เห็นอริยสัจ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายTue, 17 Aug 2021 - 2h 03min
- 46 - มงคลที่ 32 ประพฤติพรหมจรรย์ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSun, 15 Aug 2021 - 2h 02min
- 45 - มงคลที่ 31 บำเพ็ญตบะ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 13 Aug 2021 - 2h 06min
- 44 - มงคลที่ 30 สนทนาธรรมตามกาล โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSun, 11 Jul 2021 - 2h 05min
- 43 - มงคลที่ 29 การเห็นสมณะ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 04 Sep 2020 - 2h 05min
- 42 - มงคลที่ 28 เป็นผู้ว่าง่าย โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายWed, 02 Sep 2020 - 2h 04min
- 41 - มงคลที่ 27 มีความอดทน โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 31 Aug 2020 - 2h 05min
- 40 - มงคลที่ 26 ฟังธรรมตามกาล โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSat, 29 Aug 2020 - 2h 04min
- 39 - มงคลที่ 25 ความกตัญญู โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายThu, 27 Aug 2020 - 2h 01min
- 38 - มงคลที่ 24 ความสันโดษ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายTue, 25 Aug 2020 - 2h 03min
- 37 - มงคลที่ 23 อ่อนน้อมถ่อมตน โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSun, 23 Aug 2020 - 2h 04min
- 36 - มงคลที่ 22 มีความเคารพ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 21 Aug 2020 - 2h 04min
- 35 - มงคลที่ 21 ไม่ประมาท โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายWed, 19 Aug 2020 - 2h 01min
- 34 - มงคลที่ 20 สำรวมจากการดื่มน้ำเมา โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 17 Aug 2020 - 2h 02min
- 33 - มงคลที่ 19 งดเว้นบาปกรรม โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายTue, 04 Aug 2020 - 2h 04min
- 32 - มงคลที่ 18 การงานไม่มีโทษ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSun, 02 Aug 2020 - 2h 04min
- 31 - มงคลที่ 17 สงเคราะห์ญาติ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 31 Jul 2020 - 2h 06min
- 30 - มงคลที่ 16 ประพฤติธรรม โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายWed, 29 Jul 2020 - 2h 04min
- 29 - มงคลที่ 15 การให้ทาน โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 27 Jul 2020 - 2h 06min
- 28 - มงคลที่ 14 การงานไม่คั่งค้าง โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSun, 26 Jul 2020 - 2h 05min
- 27 - มงคลที่ 13 สงเคราะห์สามีภรรยา โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 24 Jul 2020 - 2h 07min
- 26 - มงคลที่ 12 เลี้ยงดูบุตร โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายThu, 23 Jul 2020 - 1h 57min
- 25 - มงคลที่ 11 เลี้ยงดูบิดามารดา โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSat, 04 Jul 2020 - 1h 50min
- 24 - มงคลที่ 10 วาจาสุภาษิต โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 03 Jul 2020 - 2h 03min
- 23 - มงคลที่ 9 ความเป็นผู้มีวินัย โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายTue, 26 May 2020 - 4h 03min
- 22 - มงคลที่ 8 ความเป็นผู้มีศิลปะ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 25 May 2020 - 1h 35min
- 21 - มงคลที่ 7 ความเป็นพหูสูต โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 25 May 2020 - 2h 05min
- 20 - มงคลที่ 6 ตั้งตนชอบ โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSun, 24 May 2020 - 2h 06min
- 19 - มงคลที่ 5 มีบุญวาสนามาก่อน โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSun, 24 May 2020 - 2h 05min
- 18 - มงคลที่ 4 ปฏิรูปเทส โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 22 May 2020 - 1h 59min
- 17 - มงคลที่ 3 บูชาบุคคลที่ควรบูชา โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 22 May 2020 - 2h 06min
- 16 - มงคลที่ 2 คบบัณฑิต โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายWed, 15 Apr 2020 - 2h 01min
- 15 - มงคลที่ 1 ไม่คบคนพาล โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายTue, 14 Apr 2020 - 1h 59min
- 14 - ปฐมนิเทศน์มงคลชีวิต โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 13 Apr 2020 - 2h 06min
- 13 - ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSat, 11 Apr 2020 - 2h 48min
- 12 - วัณณุปถชาดก ซาดกว่าด้วยความเพียรไม่เกียจคร้าน โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 16 Mar 2020 - 1h 54min
- 11 - หน้าที่พุทธบริษัท โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSat, 14 Mar 2020 - 45min
- 10 - กุศโลบาย โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 13 Mar 2020 - 1h 54min
- 9 - อนภิรติชาดก (ชาดกเปรียบหญิงเหมือนของห้าอย่าง) โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 09 Mar 2020 - 53min
- 8 - ทุราชานชาดก (ชาดกว่าด้วยความรู้ได้ยากของหญิง) โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายSat, 07 Mar 2020 - 59min
- 7 - อัณฑภูตชาดก (ชาดกว่าด้วย หญิงที่เลี้ยงไว้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ) โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกาย)Sat, 07 Mar 2020 - 54min
- 6 - สาเกตชาดก (ชาดกว่าด้วย จิตใจที่จดจ่อในผู้คุ้นเคย) โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายFri, 06 Mar 2020 - 54min
- 5 - อสาตมันตชาดก (ชาดกว่าด้วยวิสัยของหญิง) โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกาย
อสาตมันตชาดก ชาดกว่าด้วยวิสัยของหญิงส่วนมาก .....สถานที่ตรัสชาดก .....เชตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี .....สาเหตุที่ตรัสชาดก .....ในสมัยพุทธกาล ขณะที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับ ณ เชตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี พระองค์ทรงทราบว่ามีพระภิกษุรูปหนึ่งเผลอสติไปหลงรักหญิงนางหนึ่ง จนใคร่จะสึกออกไปครองเรือน พระพุทธองค์ทรงมีพระทัยกรุณาจึงทรงเรียกมาซักถาม ครั้นทรงทราบความแล้วก็ทรงเตือนให้ระลึกถึงความดีที่ตั้งใจบำเพ็ญภาวนาตลอดมา พระพุทธองค์ทรงระลึกชาติแต่หนหลังด้วยบุพเพนิวาสนุสติญาณ ทรงนำ อสาตมันตชาดก มาตรัสเล่า ดังนี้ .....เนื้อหาชาดก .....ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตครองกรุงพาราณสี มีพราหมณ์ฐานะดีครอบครัวหนึ่ง มีบุตรชายรูปร่างหน้าตาดี บิดามารดาไม่ต้องการให้บุตรชายแต่งงาน แต่ต้องการให้ออกบวชประพฤติพรหมจรรย์ เมื่อสิ้นอายุขัยจะได้ไปกำเนิดในพรหมโลก ซึ่งเป็นความเชื่อที่ประเสริฐสุดในสมัยนั้น .....นางพราหมณีรู้ว่าลูกยังไม่อยากบวช จึงให้บุตรชายไปเรียนศิลปวิทยากับอาจารย์ทิศาปาโมกข์ ที่เมืองตักกสิลา และให้เลือกเรียนกับอาจารย์ที่เป็นโสดเพื่อจะได้มีเวลาทุ่มเทในการสอน ชายหนุ่มตั้งใจเรียนจนสำเร็จ แล้วเดินทางกลับมาบ้าน นางพราหมณียังอยากให้ลูกชายออกบวช จึงกล่าวถึงวิชาอสาตมนต์ ว่าเป็นมนต์พิเศษ น้อยคนนักที่จะได้เรียน เมื่อบุตรชายรู้ว่ามีมนต์พิเศษที่ยังไม่ได้เรียน จึงรีบกลับไปหาอาจารย์เพื่อขอเรียนวิชานี้ แต่อาจารย์ของเขาได้พามารดาซึ่งมีอายุถึง ๑๒๐ ปี เข้าไปอาศัยอยู่ในป่า เพราะท่านต้องการปรนนิบัติดูแลมารดาเอง .....ชายหนุ่มตามมาพบอาจารย์ และขอเรียนอาสาตมนต์ อาจารย์ได้ชวนเขาสนทนาถึงความเป็นไปต่างๆ ในครอบครัวเขา อาจารย์จึงได้เข้าใจถึงความต้องการที่แท้จริงของมารดาของศิษย์ และตกลงที่จะสอนอาสาตมนต์ให้ อาจารย์ได้มอบหมายให้เขาปรนนิบัติดูแลมารดาแทนตน และทุกครั้งที่ปรนนิบัติต้องเยินยอ พรรณนาความงามของท่านเมื่อสมัยที่ยังสาวไปด้วย เมื่อท่านตอบมาว่าอย่างไรต้องมาเล่าให้ฟังอาจารย์ทุกครั้ง อย่าปิดบังเด็ดขาด ชายหนุ่มรับคำ แล้วดำเนินตามคำสอนทุกอย่าง ทำให้หญิงชราซึ่งแม้จะมีอายุถึง ๑๒๐ ปี ตาบอดฟันหักหมดปากแล้ว กลับมีความคิดว่าชายหนุ่มรักนาง นางจึงชวนชายหนุ่มมาอยู่ด้วย และคิดแผนการกำจัดลูกชายตนเอง .....ชายหนุ่มได้เล่าเนื้อความทั้งหมดให้อาจารย์ฟัง อาจารย์จึงนั่งตรวจดูอายุของมารดา ก็ทราบว่ามารดาจะสิ้นอายุขัยในวันนี้ จึงให้ศิษย์ไปตัดไม้มะเดื่อมาท่อนหนึ่ง นำมาวางบนเตียงนอนของตนเอาผ้าคลุม แล้วผูกราวเชือกไว้ จากนั้นให้ศิษย์นำขวานไปให้มารดา ศิษย์จึงไปบอกมารดาของอาจารย์ทันที นางรับมาแล้วก็ลุกขึ้นเดินเกาะราวเชือกไปยังห้องนอนของลูกชาย มาถึงเตียงก็เอามือคลำดูแล้วเงื้อขวานฟันลงไปทันที เมื่อขวานกระทบไม้ก็กระดอนขึ้นมา นางก็รู้ว่าถูกหลอก ทันทีนั้นบุตรชายก็ได้ถามขึ้นมา ความตกใจและความอับอายพุ่งเข้าจับดวงใจของหญิงชราในทันที นางถึงกับสิ้นสติล้มลง และขาดใจตายอยู่ ณ ที่นั้น .....เมื่ออาจารย์จัดการเผาศพมารดาของตนแล้ว จึงบอกว่าวิชาที่เรียกว่าอสาตมนต์ไม่มี แต่มารดาของศิษย์ต้องการให้มองเห็นโทษของหญิง และตอนนี้ก็ได้เห็นแล้ว จากนั้นศิษย์ได้กราบลาอาจารย์กลับบ้าน หลังจากนั้น ชายหนุ่มจึงลาบิดามารดา เข้าป่าบวชเป็นฤาษีบำเพ็ญภาวนา จนกระทั่งสิ้นอายุขัย ครั้นละโลกนี้ไปแล้วได้ไปบังเกิดในพรหมโลก .....ประชุมชาดก .....เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสชาดกจบแล้ว ทรงประกาศอริยสัจสี่โดยอเนกปริยาย หลังจากจบอริยสัจแล้ว ภิกษุผู้ปรารถนาจะสึกได้เป็นพระโสดาบัน .....พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประชุมชาดกว่า .....หญิงชรา ในครั้งนั้น ได้มาเป็นภิกษุณีชื่อภัททกาปิลานี .....บิดาของชายหนุ่ม ได้มาเป็นพระมหากัสสป .....ลูกศิษย์ ได้มาเป็นพระอานนท์ .....อาจารย์ ได้มาเป็นพระองค์เอง .....ข้อคิดจากชาดก .....ในการอ่านชาดกเรื่องนี้ ต้องทำใจให้เป็นกลาง อย่ายึดว่าตัวเองเป็นหญิงหรือชาย เพราะทั้งหญิงและชาย หากไม่ระวังตัวก็มีโอกาสอยู่ในเวรกาเมเท่าๆ กัน ทุกคนจึงควรตระหนักว่า .....1. การประพฤติพรหมจรรย์หรือการครองตนเป็นโสด เป็นเรื่องที่น่าสรรเสริญ .....2. หญิงหรือชายที่ตั้งใจประพฤติพรหมจรรย์ ต้องระวังตัวอย่าคลุกคลีกับเพศตรงข้าม เพราะเมื่อยังไม่หมดกิเลส ก็ย่อมมีโอกาสพลาดพลั้งได้ แม้แต่การคบเพื่อนเพศเดียวกัน ก็ต้องเลือก อย่าคบกับคนที่เจ้าชู้ รักสวยรักงามเกินไป เพราะเขาจะชักนำให้เราสนใจเรื่องเพศจนกามกำเริบได้ ที่มา: https://kalyanamitra.org/th/article_detail.php?i=3901
Thu, 05 Mar 2020 - 1h 00min - 4 - พระคุณมารดา-บิดา โดย หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกายMon, 02 Mar 2020 - 1h 56min
- 3 - องค์แห่งศีล โดย หลวงพ่อทัตตชีโวMon, 17 Feb 2020 - 1h 53min
- 2 - สามัญญผล โดย หลวงพ่อทัตตชีโว
ความหมายของสามัญญผล คำว่า "สามัญญผล" ในสามัญญผลสูตร หมายถึง ผลหรืออานิสงส์ของความเป็นสมณะ หรือผลดีของการเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ผู้ครองชีวิตเป็นนักบวชที่บริบูรณ์บริสุทธิ์อย่างแท้จริงในพระพุทธศาสนานั้น ย่อมได้รับอานิสงส์มากมายนานัปการตามธรรมดาของสิ่งต่างๆ ในโลกนี้สิ่งใดมีคุณอนันต์สิ่งนั้นมักจะมีโทษมหันต์แฝงอยู่เป็นของควบคู่กันไป แต่การเป็นนักบวชที่บริบูรณ์บริสุทธิ์อย่างแท้จริงในพระพุทธศาสนา จะบังเกิดแต่ผลดีเท่านั้นไม่มีผลร้ายหรือโทษเลยผลดีที่นักบวชจะพึงได้รับนั้น ย่อมเกิดขึ้นโดยลำดับ ที่เห็นได้ชัดเจนในทันทีก็คือ การได้รับความเคารพยกย่องจากบุคคลโดยทั่วไป นอกจากนี้ การเป็นนักบวชยังทำให้เป็นผู้มีความสงบ กาย วาจา ใจ มีสติสัมปชัญญะ มีปัญญาพิจารณาไตร่ตรองเรื่องต่างๆ รอบคอบขึ้น มีความเข้าใจเรื่องโลกและชีวิตอย่างแท้จริง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้นักบวชสามารถเป็นกัลยาณมิตรให้กับตนเอง เพื่อการครองชีวิตอย่างถูกต้องตามทำนองคลองธรรม ไม่ตกอยู่ใต้อำนาจกิเลสและยังสามารถเป็นกัลยาณมิตรให้กับผู้อื่น คือเป็นผู้ชี้ทางที่ถูกต้องดีงามให้แก่บุคคลรอบข้างและชาวโลกได้อีกด้วย การเป็นนักบวชย่อมจะได้รับแต่ผลดียิ่งๆ ขึ้นไปเช่นนี้จนกระทั่งบรรลุถึงผลขั้นสูงสุด คือ มรรคผลนิพพานหากยังไม่สามารถบรรลุมรรคผลนิพพานในชาตินี้ได้ ประสบการณ์ และบุญกุศลทั้งปวงที่นักบวชได้บำเพ็ญไว้ในปัจจุบันชาติก็ไม่สูญเปล่า ย่อมสั่งสมไว้เป็นรากฐานหรือกองทุน เพื่อรอเวลาออกผลในภพชาติต่อๆ ไป มดังพุทธภาษิตที่ว่า"แม้หม้อน้ำ ย่อมเต็มได้ด้วยหยาดน้ำที่ตกทีละหยด ฉันใดผู้มีปัญญาสั่งสมบุญทีละน้อย ย่อมเต็มได้ด้วยบุญ ฉันนั้น"เมื่อบุญเต็มเปียมแล้ว ย่อมเป็นเหตุให้ได้บรรลุมรรคผลนิพพาน อันเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา
Sat, 15 Feb 2020 - 59min - 1 - ฆราวาสธรรม โดย หลวงพ่อทัตตชีโว
หลักธรรมที่แสดงถึงคุณสมบัติของบุคคลที่พึ่งตนเองได้ก็คือ ฆราวาสธรรม ซึ่งเป็นหลักธรรมที่บ่งบอกถึงการเป็นผู้ที่สามารถพึ่งตนเองได้ ฆราวาสธรรม ๔ ประการ ได้แก่ สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ สัจจะ มีความซื่อสัตย์ เป็นคนตรง เป็นคนจริง ทมะ รักการฝึกตัวเองให้ดียิ่งขึ้น ขันติ มีความอดทน จาคะ มีความเสียสละ เห็นแก่ความผาสุกของหมู่คณะ เห็นแก่ส่วนรวม บุคคลที่พึ่งตนเองได้ คือคนที่มีความสามารถทำสิ่งต่าง ๆ ได้จริงด้วยตนเอง จึงทำให้เป็นคนที่มีสัจจะ คือคนที่พูดอย่างไรก็ทำอย่างนั้น ทำอย่างไรก็พูดอย่างนั้น มีความรับผิดชอบต่อคำพูดและการกระทำที่ตรงกันทั้งต่อหน้าและลับหลัง นี่คือลักษณะของคนที่มีสัจจะ ในทางตรงกันข้าม คนที่ไม่สามารถทำอะไรได้จริงด้วยตัวเอง เขาย่อมกลัวคนอื่นจะรู้ว่า ตัวเองทำไม่ได้ กลัวคนอื่นจะมาซักถามในสิ่งที่เขาพูดเกินจริง เขาก็จะหาทางเอาตัวรอดด้วยการโกหก หัดมีเล่ห์เหลี่ยม คดโกง หลอกลวง ผู้เป็นพ่อแม่ต้องหาทางป้องกันลูกจากนิสัยไม่ดี นิสัยชั่วเหล่านี้ ด้วยการฝึกลูกให้เป็นคนซื่อสัตย์ มีสัจจะ เมื่อทำการงานใดก็ต้องหัดให้ทำให้ได้ ต้องทำให้ได้ดี และต้องทำให้ทันเวลาด้วย
Mon, 03 Feb 2020 - 1h 56min
Podcasts similaires à หลวงพ่อทัตตชีโว วัดพระธรรมกาย
- นิทานชาดก 072
- พี่อ้อยพี่ฉอด พอดแคสต์ CHANGE2561
- หลวงปู่ปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม dhamma.com
- People You May Know FAROSE podcast
- เล่าเรื่องรอบโลก by กรุณา บัวคำศรี karunabuakamsri
- ลงทุนแมน longtunman
- Mission To The Moon Mission To The Moon Media
- ธรรมนิยาย หลวงพ่อจรัญ (สัตว์โลกย่อมเป็นไปตา Ploy Techa
- พระเจอผี Podcast Prajerpee
- SONDHI TALK sondhitalk
- คุยให้คิด Thai PBS Podcast
- หน้าต่างโลก Thai PBS Podcast
- พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ) Thammapedia.com
- หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน Thammapedia.com
- The Secret Sauce THE STANDARD
- THE STANDARD PODCAST THE STANDARD
- คำนี้ดี THE STANDARD
- Luangpor Paisal Visalo‘s Podcast (ธรรมะ จาก หลวงพ่อไพศาล วิสาโล) watpasukato
- พระไตรปิฎกศึกษา-พระสมบัติ นันทิโก ชมรมผลดี
- 2 จิตตวิเวก ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
- 5 นิทานพรรณนา ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
- พระอาจารย์สมภพ โชติปัญโญ พระอาจารย์สมภพ โชติปัญโญ
- พุทธวจน พุทธวจน
- หลวงพ่อจรัญ ทักขญาโณ หลวงพ่อจรัญ ทักขญาโณ